ติดตามชมบทสัมภาษณ์ Pat Pannachet เจ้าของเพจชื่อดัง"บันทึกไม่ลับของคนขับเครื่องบิน" และเส้นทางชีวิตนักบินที่น่าสนใจอย่างยิ่ง
วันอาทิตย์ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2560
InsideCockpit ตอนที่ 42: บันทึกไม่ลับของคนขับเครื่องบิน
InsideCockpit ตอนที่ 42:บันทึกไม่ลับของคนขับเครื่องบิน
ติดตามชมบทสัมภาษณ์ Pat Pannachet เจ้าของเพจชื่อดัง"บันทึกไม่ลับของคนขับเครื่องบิน" และเส้นทางชีวิตนักบินที่น่าสนใจอย่างยิ่ง
ติดตามชมบทสัมภาษณ์ Pat Pannachet เจ้าของเพจชื่อดัง"บันทึกไม่ลับของคนขับเครื่องบิน" และเส้นทางชีวิตนักบินที่น่าสนใจอย่างยิ่ง
วันเสาร์ที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2560
InsideCockpit ตอนที่ 41: นายกสมาคมนักบินไทยกับประเด็นพรบ.การบินพลเรือนฉบับใหม่
Inside Cockpit ส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ด้วยบทสัมภาษณ์กัปตันสนอง มิ่งเจริญ นายกสมาคมนักบินไทย กับ พรบ.การบินพลเรือนฉบับใหม่ที่กำลังเป็นประ เด็น กับบทบาทของสมาคมนักบินไทย และงาน Pilot DNA ที่กำลังจะจัดขึ้นในเดือนมกราคม ติดตามชมได้ครับ
InsideCockpit ตอนที่ 40: กัปตันแอ้ ร้าน Fernpresso กับวิวสนามบินสวยๆ
กัปตันหนุ่ยและกัปตันเหมพาบินลัดฟ้าไปเที่ ยวเชียงใหม่ แวะชิมกาแฟที่ร้าน Fernpresso ที่บรรยากาศสุดยอด เหมาะกับผู้ที่รักกาแฟและวิวสนามบิน พูดคุยกับกัปตันแอ้แห่งสายการบินไทยแอร์เอ เซีย อดีตนักบิน F-16 ผู้มีประสบการณ์บินกับทั้งเครื่องบินรบและ เครื่องบินพาณิชย์
InsideCockpit ตอนที่ 39 : แนะนำหนังสือ Pilot DNA
Inside Cockpit สัปดาห์นี้ กัปตันหนุ่ยและกัปตันเหม ร่วมกับนักบินป๊อป จากเพจดัง "Pop Eye View" และนักบินอัพ จากเพจดัง "บันทึกไม่ลับของคนขับเครื่องบิน" แนะนำหนังสือ Pilot DNA ที่พร้อมวางแผงประมาณต้นปีหน้า นอกจากนี้ยังได้พบกับนักบินสาวสวยจากนกแอร ์ที่มายืนยันว่า เรียนสายศิลป์ ก็มาเป็นนักบินได้!!!
สุดท้าย พลาดไม่ได้ กับประกาศรายชื่อผู้ได้รับรางวัลจากการร่ว มสนุกส่งชื่อหนังสือ Pilot DNA ภาษาไทย 3 รางวัล.....ติดตามได้เลยครับ
สุดท้าย พลาดไม่ได้ กับประกาศรายชื่อผู้ได้รับรางวัลจากการร่ว
InsideCockpit ตอนที่ 38 : ออกอากาศวันที่ 19 พย. 2559
InsideCockpit เสาร์นี้มาแล้ว เชิญติดตามชมได้ครับ มาลุ้นกันว่าท่านใดจะเป็นผู้โชคดีประจำสัป ดาห์นี้ครับ
InsideCockpit ตอนที่ 37 : เก็บตก Q&A จากงาน Pilot DNA#1 ตอนที่สอง
Inside Cockpit ตอนล่าสุดมาแล้วครับ กัปตันหนุ่ยและกัปตันเหมเชิญนายกสมาคมนักบินไทยมาตอบคำถามที่ถูกถามเข้ามาในงานเสวนา Pilot DNAครั้งที่หนึ่ง ที่สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าลาดกระบัง เมื่อวันที่ 24 กันยายน ที่ผ่านมา เชิญชมตอนที่สองของการตอบคำถามครับ
คลิปจากงาน Pilot DNA#1
คลิปจากงาน PILOT DNA #1 เมื่อวันที่ 24 กันยายนที่ผ่านมา ครั้งต่อไปพบกันที่ ม.เกษตร วันที่ 14 ตุลาคม ผู้ที่สนใจวิชาชีพนักบิน พลาดไม่ได้ด้วยประการทั้งปวง แล้วพบกันครับ
ปล. ขอขอบคุณทีมงานตัดต่อ พี่โอ๊ก น้องกัปตัน น้องยอด น้องแม็ก และเพื่อนๆครับ
https://youtu.be/6JsVhwGwfsA
ปล. ขอขอบคุณทีมงานตัดต่อ พี่โอ๊ก น้องกัปตัน น้องยอด น้องแม็ก และเพื่อนๆครับ
https://youtu.be/6JsVhwGwfsA
PILOT PROFICIENCY CHECK
PILOT PROFICIENCY CHECK
วันนี้ตื่นแต่เช้าเพื่อเดินทางจากโรงแรมที่พักในสิงคโปร์ไปยัง Boeing Singapore Training And Flight Services เพื่อไปฝึกบินใน Flight simulator แบบ B787-8 ที่เมืองไทยยังไม่มีให้บริการ ในหนึ่งปีผมต้องเดินทางไปยังสิงคโปร์สองรอบเพื่อทำการฝึกบินในซิมและถูกตรวจสอบโดยครูการบินของบริษัทซึ่งได้รับมอบหมายหน้าที่ตรวจสอบความสามารถในการบินในสถานการณ์ฉุกเฉินต่างๆและทบทวนความรู้การบินไปด้วย
ครูการบินที่มาทำหน้าที่ควบคุมซิมและตรวจสอบนักบินนั้น ได้รับการแต่งตั้งโดยสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยให้ทำหน้าที่แทนเจ้าหน้าที่ของสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยครับ ด้วยความที่กำลังพลในสำนักงานมีน้อย จึงได้มอบหมายให้มีตัวแทนของบริษัททำหน้าที่ดังกล่าวแทน ซึ่งครูการบินของบริษัทนั้นจะเป็นผู้ที่มีความรู้ความชำนาญในการบินเครื่องบินแบบดังกล่าวอยู่แล้ว
สำหรับบริษัทการบินไทยนั้น ในหนึ่งปีจะต้องมาฝึกบินในซิมอย่างนี้สองครั้ง โดยแบ่งเป็นครึ่งปีมาทีนึง ในการฝึกบินหนึ่งครั้งจะจัดให้มีการบินสองวัน โดยในวันแรกเราเรียก Recurrent Flight Training หรือ RFT ซึ่งจะมีครูการบินท่านแรกมารันซิมมูเลเตอร์และให้เราฝึกท่าทางการบินและฝึกทำ Malfunction checklist เพื่อให้เกิดความคุ้นเคย รวมไปถึงฝึกการประสานงานกันระหว่างนักบินทั้งสองที่เป็น Trainee ซึ่งปกติจะจัดให้กัปตันมาฝึกคู่กับนักบินผู้ช่วยครับ ในวันแรกที่เป็น RFT นั้น จะไม่ใช่การตรวจสอบว่าผ่านหรือตก แต่จะเป็นการฝึกก่อน ซึ่งจะใช้เวลาสี่ชั่วโมงในการบินซิม โดยTrainee จะผลัดกันเป็น Pilot flying คนละสองชั่วโมงครับ ครูการบินจะมีบทเรียนที่ออกแบบมาให้เราสามารถฝึกฝนท่าทางต่างๆและฝึกการทำงานร่วมกันอย่างครบถ้วนและเข้มข้นครับ
ส่วนวันที่สอง เรียกว่า Pilot Proficiency Check หรือ PPC วันนี้จะเป็นวันตรวจสอบที่แท้จริง ครูการบินของการบินไทยซึ่งได้รับมอบหมายหน้าที่จากสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยจะทำการตรวจสอบความสามารถของนักบินว่าพร้อมจะทำการบินด้วยความปลอดภัยหรือไม่ การประสานงานระหว่างนักบินเป็นไปด้วยความราบรื่นและถูกต้องตาม Flight procedures หรือไม่ ทักษะการบินของแต่ละคนอยู่ในระดับที่บินได้ปลอดภัยหรือไม่ ครูการบินจะให้ฝึกการวิ่งขึ้นและลงจอดในสถานการณ์ต่างๆที่อาจจะไม่เคยเกิดขึ้นในชีวิตจริงเลย แต่สามารถมาฝึกบินในซิมได้ครับ อย่างเช่น สมมติให้เครื่องยนต์ดับไปข้างนึงหรือไฟไหม้เครื่องยนต์ระหว่างวิ่งขึ้น หรือสมมติสถานการณ์ว่ามีเครื่องบินอีกลำบินเข้ามาใกล้จนเกิดอันตรายแล้วดูว่านักบินสามารถแก้ไขสถานการณ์ไปได้หรือไม่ และสำหรับสายการบินที่ได้รับอนุญาตให้บินขึ้นและลงจอดในทัศนวิสัยตำ่ที่เรียกว่า Low visibility operations นักบินก็จะต้องฝึกบินและตัดสินใจให้ถูกต้องตามกฏการบิน ครูการบินผู้ตรวจสอบจะแนะนำเทคนิคการบินได้ด้วยในซิมมูเลเตอร์เพื่อให้นักบินได้มีความเข้าใจที่ถูกต้องและนำไปปฏิบัติได้จริง
เมื่อตรวจสอบแล้วครูการบินมั่นใจว่าปลอดภัย ก็จะเซ็นกำกับในเอกสารส่วนตัวของนักบินแต่ละท่านว่าผ่านการตรวจสอบ เพื่อให้นักบินมีหลักฐานเก็บเอาไว้เผื่อถูกตรวจสอบจากหน่วยงานอื่นๆของแต่ละประเทศที่บินไปครับ และเก็บเอกสารการตรวจสอบไว้ที่บริษัทเพื่อสามารถตรวจสอบย้อนหลังได้ ในช่วงอายุการบินของนักบินการบินไทย ต้องทำอย่างนี้ตลอดครับ หากมีอายุการบินจนเกษียณที่หกสิบปีและเริ่มทำงานตอนอายุยี่สิบห้า นั่นหมายถึงต้องฝึกในซิมอย่างน้อยถึงหนึ่งร้อยสี่สิบวันทีเดียว ซึ่งจำนวนนี้ยังไม่นับการฝึกบิน Transition training ซึ่งจะทำเมื่อเปลี่ยนแบบเครื่องบินทุกครั้งอีกด้วย
การฝึกบินในซิมมูเลเตอร์เป็นตัวกระตุ้นให้นักบินต้องศึกษาทบทวนความรู้ความเข้าใจเสมอ เพื่อให้การบินจริงปลอดภัยมากยิ่งขึ้นครับ
InsideCockpit ตอนที่36: เก็บตก Q&A Pilot DNA ครั้งที่ 1
Inside Cockpit ร่วมกับสมาคมนักบินไทย โดยกัปตันสนอง มิ่งเจริญ นายกสมาคม ร่วมกันตอบคำถามที่ยังค้างตอบในงานเสวนาวิ ชาชีพนักบิน “Pilot DNA ครั้งที่ 1” เมื่อวันที่ 24 กย.ที่ผ่านมาเนื่องจากเวลาอันมีจำกัด.... คำถามยอดฮิตจะตรงใจท่านรึเปล่า ติดตามชมกันครับ
Standard Phraseology การบินวันละนิดจิตแจ่มใสครับ
Standard Phraseology การบินวันละนิดจิตแจ่มใสครั บ
การติดต่อระหว่างเจ้าหน้าผู้ควบคุมการจราจรทางอากาศหรื
PILOT: THAI 1 Request taxi = ขออนุญาตนำเครื่องบินเคลื่อ
ATC: THAI 1 Taxi to holding point B2 runway 19L = อนุญาตให้นักบินนำเครื่องบิ
PILOT: Taxi to holding point B2 runway 19L , THAI 1 = จะทำการเคลื่อนที่เครื่องบิ
ATC : THAI 1, Line up runway 19L and wait = THAI 1 ให้คุณนำเครื่องบินเข้าไปบน
PILOT : Lining up runway 19L , THAI 1 = นำเครื่องบินเข้าไปบนรันเวย์ 19L แล้วรอรับคำสั่ง, THAI 1 รับทราบครับ
ATC : THAI 1, wind 180 degree 25 knots ,Cleared for Takeoff runway 19L = THAI 1 , ลมผิวพื้นขณะนี้ พัดจากทิศ 180 องศา ความเร็วลม 25 น๊อตติคอลไมล์ต่อชั่วโมง อนุญาตให้คุณวิ่งขึ้นจากรัน
PILOT : Cleared for takeoff runway 19L ,THAI 1 = ทำการวิ่งขึ้นจากรันเวย์ 19L ได้ , THAI 1 รับทราบครับ
เร่งเครื่องยนต์ ล้อหมุนนนนนนนนน
ระบบไฟส่องสว่างภายในห้องนักบิน
การวางตำแหน่งระบบระบบไฟส่อ
นอกจากนี้ การปรับความเข้มของแสงไฟแต่
ตัวอย่างชื่อของระบบไฟส่องส
ผลพลอยได้ของการออกแบบระบบไ
InsideCockpit ตอนที่ 35: Q&A
มาแล้ว........ Inside Cockpit ประจำวันที่ 24/09/16 กัปตันหนุ่ยและกัปตันเหม ไขข้อข้องใจ ตอบคำถามแฟนเพจหลายประเด็น และมาลุ้นกันว่า ใครเป็นผู้โชคดีได้ หมวก 787 ไปครอบครอง ติดตามชมกันครับ
InsideCockpit ตอนที่ 35: โดมและวอร์ม ฝันให้ไกลไปให้ถึง ตอนที่สอง
ติดตามชมเส้นทางชีวิตนักบินอันแสนจะทรหดขอ งโดมและวอร์ม ในตอนที่สองกันได้เลยครับ
InsideCockpit ตอนที่ 34: โดมและวอร์ม ฝันให้ไกลไปให้ถึง ตอนที่หนึ่ง
สองหนุ่มที่มีเส้นทางชีวิตแตกต่างกัน แต่มีความฝันที่เหมือนกัน นั่นคือ การได้เป็นนักบินแอร์ไลนส์ ติดตามชม Inside cockpit ผ่าเส้นทางชีวิตของสองนักบินการบินไทย โดมและวอร์ม เขาทั้งคู่ต้องฝ่าฟันอุปสรรคอะไรบ้างกว่าจ ะมีวันนี้ เชิญรับชมภาคแรกของบทสัมภาษณ์ได้แล้วครับ
InsideCockpit ตอนที่ 33: ลูกเรือ Cabin Crew
สัปดาห์นี้ กัปตันหนุ่ยและกัปตันเหม พาท่านผู้ชมไปรู้จักกับหนึ่งในอาชีพในฝันข องใครหลายคน ......นั่นก็คืออาชีพพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน หรือ สจ๊วต แอร์โฮสเตส ที่หลายคนใฝ่ฝัน มาชมบทสัมภาษณ์แขกรับเชิญ พี่ยอด และพี่อิ๋ว พนักงานต้อนรับบนเครื่องบินที่มากด้วยประส บการณ์ได้เลยครับ
KSA ตอนที่ 2
KSA ตอนที่ 2
ว่ากันต่อจากตอนที่แล้ว เกริ่นนำไปเกี่ยวกับ KSA ซึ่งเป็นคำย่อของ Knowledge Skill และ Ability โดยได้กล่าวถึงรายละเอียดขอ ง Ability ที่เป็นคุณลักษณะของแต่ละบุ คคลที่ติดตัวมาก่อนถูกคัดเลือกเป็นนักบินพาณิชย์ ซึ่งมีอยู่ด้วยกันหลายข้อ ผมได้เล่าไปแล้วสิบประการ ติดตามตอนเก่าได้จากลิ้งค์นี้นะครับ
https://www.facebook.com/ photo.php?fbid=102069083502 83262&set=a.1430939409486. 2057903.1112892573&type=3&theater¬if_t=like& notif_id=1472610212808062
ทีนี้มาดูกันต่อว่า Ability ที่ควรจะมีอยู่ในตัวผู้ที่น่าจะทำหน้าที่นักบินแอร์ไลน ส์ได้มีอะไรอีกบ้าง
11. Rate control สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวข องอุปกรณ์หรือเครื่องมือต่า งๆให้สัมพันธ์กับการเปลี่ยน แปลงความเร็วหรือทิศทางของวัตถุหรือฉากที่เปลี่ยนไป
12.Written Comprehension อ่านเอกสารหรือข้อมูลได้เข้ าใจถ่องแท้
13.Arm-Hand Steadiness ควบคุมมือกับแขนให้อยู่นิ่ง ๆได้ แบบว่าจับพวงมาลัยนิ่งๆได้ ไม่เขย่าหรือสั่นจนควบคุมไม่ได้
14.Deductive Reasoning สามารถประยุกต์กฏทั่วไปเพื่ อตอบปัญหาหรือแก้ปัญหาหรือโ จทย์ได้อย่างมีเหตุและผล
15.Information Ordering สามารถเรียบเรียงสิ่งต่างๆไ ด้ตามรูปแบบมาตรฐานหรือกฏที่กำหนดไว้ได้ดี เช่นรูปแบบของตัวเลข รูปภาพ ตัวอักษร การแก้โจทย์เลข
16.Oral Expression สามารถพูดหรืออธิบายเรื่องต่างๆให้ผู้อื่นเข้าใจได้
17.Perceptual Speed สามารถเปรียบเทียบความเหมือ นหรือความแตกต่างของรูปแบบอักษร ภาพ วัตถุ ได้อย่างรวดเร็วและแม่นยำ สิ่งที่จะต้องถูกเปรียบเทีย บนั้นอาจจะมองเห็นได้ในเวลา เดียวกันหรือไม่พร้อมกัน
18.Selective Attention สามารถควบคุมสมาธิในการทำอะ ไรบางอย่างได้เป็นเวลานานโด ยไม่ถูกรบกวนง่ายๆ
19.Oral Comprehension สามารถฟังและจับใจความประโย คหรือคำพูดที่ได้ยิน และเข้าใจได้ทันที
20.Time Sharing สามารถทำงานหลายอย่างกลับไป กลับมาพร้อมกันได้อย่างมีปร ะสิทธิภาพในเวลาจำกัด
21.Hearing Sensitivity แยกแยะเสียงหรือโทนเสียงที่ แตกต่างกันได้
22.Speech Clarity พูดจาชัดเจน ฟังเข้าใจได้ง่าย
23.Speech Recognition แยกแยะคำพูดของคนอื่นได้ว่า ใครเป็นคนพูด และเข้าใจคำพูดของคนอื่น
24.Manual Dexterity ใช้มือกับแขนได้อย่างคล่องแ คล่วในการทำงานบางอย่าง เช่น จับ เปลี่ยนแปลงรูปร่างวัตถุ หรือรวบรวมสิ่งของเข้ามารวม กัน
25.Peripheral Vision มองเห็นวัตถุด้านหน้าที่กำลังเคลื่อนที่ผ่านด้านข้างตั วเราในขณะที่กำลังเพ่งสายตา มองไปข้างหน้า
26.Visual Colour Discrimination สามารถจับคู่หรือจับผิดความ แตกต่างของสีหรือเฉดสีและคว ามสว่างของภาพหรือวัตถุ
27.Night Vision มองเห็นได้ดีในสภาพแสงน้อย
28.Auditory Attention มีสมาธิในการฟังหรือแยกแยะเ สียงบางอย่างออกจากเสียงรบก วนอื่นๆได้ดี
29.Glare Sensitivity ไม่ลำบากมากนักในการมองเห็น วัตถุด้านหน้าในสภาวะแสงจ้า เกินปกติ
30.Category Flexibility สามารถสร้างหรือใช้กฏบางอย่ างในการรวบรวมหรือแยกแยะชุด ข้อมูลออกจากกันได้
31.Mathematical Reasoning เก่งการประยุกต์ใช้กฏทางคณิ ตศาสตร์ในการแก้ไขปัญหา
32.Number Facility บวกลบคูณหารได้เร็วและถูกต้ อง
33.Speed of Closure สามารถเข้าใจ รวบรวมและจัดระเบียบข้อมูลที่ได้รับมาให้เป็นรูปแบบที่ เข้าใจได้ง่ายและรวดเร็ว
34.Finger Dexterity ใช้นิ้วมือในการหยิบจับหรือ รวบรวมสิ่งของขนาดเล็กได้อย่างไม่ผิดพลาด
35.Sound Localization บอกได้ว่าเสียงที่ได้ยินมาจ ากทิศทางไหน
36.Visualization จินตนาการภาพเก่งจากการเห็น วัตถุบางอย่างหรือบางส่วนขอ งมันที่กำลังเคลื่อนไหว
37.Written Expression สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจความคิดของเร าได้จากการเขียนของเรา
ตอนต่อไปมาดูกันว่า พอเรามี Ability ที่เหมาะสมแล้ว เราจะนำเอา Knowledge ที่เคยได้เรียนรู้มาก่อนจะถูกคัดเลือกเพื่อเป็นนักบินม าทำให้เกิด Skill หรือทักษะที่จำเป็นในการเป็ นนักบินแอร์ไลนส์ได้อย่างไร ครับ
—————————-
credits: www.onetonline.org
credits: www.wallpaperup.com
ว่ากันต่อจากตอนที่แล้ว เกริ่นนำไปเกี่ยวกับ KSA ซึ่งเป็นคำย่อของ Knowledge Skill และ Ability โดยได้กล่าวถึงรายละเอียดขอ
https://www.facebook.com/
ทีนี้มาดูกันต่อว่า Ability ที่ควรจะมีอยู่ในตัวผู้ที่น่าจะทำหน้าที่นักบินแอร์ไลน
11. Rate control สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวข
12.Written Comprehension อ่านเอกสารหรือข้อมูลได้เข้
13.Arm-Hand Steadiness ควบคุมมือกับแขนให้อยู่นิ่ง
14.Deductive Reasoning สามารถประยุกต์กฏทั่วไปเพื่
15.Information Ordering สามารถเรียบเรียงสิ่งต่างๆไ
16.Oral Expression สามารถพูดหรืออธิบายเรื่องต่างๆให้ผู้อื่นเข้าใจได้
17.Perceptual Speed สามารถเปรียบเทียบความเหมือ
18.Selective Attention สามารถควบคุมสมาธิในการทำอะ
19.Oral Comprehension สามารถฟังและจับใจความประโย
20.Time Sharing สามารถทำงานหลายอย่างกลับไป
21.Hearing Sensitivity แยกแยะเสียงหรือโทนเสียงที่
22.Speech Clarity พูดจาชัดเจน ฟังเข้าใจได้ง่าย
23.Speech Recognition แยกแยะคำพูดของคนอื่นได้ว่า
24.Manual Dexterity ใช้มือกับแขนได้อย่างคล่องแ
25.Peripheral Vision มองเห็นวัตถุด้านหน้าที่กำลังเคลื่อนที่ผ่านด้านข้างตั
26.Visual Colour Discrimination สามารถจับคู่หรือจับผิดความ
27.Night Vision มองเห็นได้ดีในสภาพแสงน้อย
28.Auditory Attention มีสมาธิในการฟังหรือแยกแยะเ
29.Glare Sensitivity ไม่ลำบากมากนักในการมองเห็น
30.Category Flexibility สามารถสร้างหรือใช้กฏบางอย่
31.Mathematical Reasoning เก่งการประยุกต์ใช้กฏทางคณิ
32.Number Facility บวกลบคูณหารได้เร็วและถูกต้
33.Speed of Closure สามารถเข้าใจ รวบรวมและจัดระเบียบข้อมูลที่ได้รับมาให้เป็นรูปแบบที่
34.Finger Dexterity ใช้นิ้วมือในการหยิบจับหรือ
35.Sound Localization บอกได้ว่าเสียงที่ได้ยินมาจ
36.Visualization จินตนาการภาพเก่งจากการเห็น
37.Written Expression สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจความคิดของเร
ตอนต่อไปมาดูกันว่า พอเรามี Ability ที่เหมาะสมแล้ว เราจะนำเอา Knowledge ที่เคยได้เรียนรู้มาก่อนจะถูกคัดเลือกเพื่อเป็นนักบินม
—————————-
credits: www.onetonline.org
credits: www.wallpaperup.com
KSA ตอนที่ 1
KSA ตอนที่ 1
เริ่มต้นด้วยคำย่อ อย่าเพิ่งงงนะจ๊ะ นี่ไม่ใช่คำย่อของประเทศซาอุดิอาระเบียแต่อย่างใด (Kingdom of Saudi Arabia) แต่มันคือตัวย่อของอักษรสาม
แล้วมันเกี่ยวอะไรกับเรื่อง
คนที่เหมาะสมต่อการเป็นนักบินนั้น พื้นฐานที่เราต้องมีอยู่ มันติดตัวมากับเรา มันถูกฝึกฝนด้วยตัวเราเองจน
1.Control precision ความสามารถในการปรับหรือควบ
2.Response Orientation ความสามารถในการเคลื่อนไหวร่างกายหรือมือเท้าแขนขาให้ร
3.Problem sensitivity ความสามารถในการบอกได้ว่าสิ่งไหนที่ผิดหรือกำลังจะเกิด
4.Spatial orientation ความสามารถในการทราบตำแหน่ง
5.Depth perception รู้ว่าวัตถุตรงหน้าเราอยู่ห่างจากเราแค่ไหน อันไหนใกล้กว่า อันไหนไกลกว่า
6.Far vision มองเห็นรายละเอียดของวัตถุที่อยู่ไกลออกไปได้ดี
7.Flexibility of Closure สามารถตรวจพบรูปแบบที่เรารู้จักอยู่แล้วออกจากจากสิ่งแ
8.Inductive Reasoning สามารถสรุปแนวความคิดจากการ
9.Multilimb coordination ใช้มือหรือเท้า แขนหรือขาได้สัมพันธ์กัน ไม่ขัดแย้งกันเอง
10.Near vision มองเห็นรายละเอียดของวัตถุที่อยู่ใกล้เราไม่กี่ฟุตได้อ
เหลือข้อมูลเกี่ยวกับ Ability อีกเยอะครับ ขอยกยอดไปตอนหน้านะจ๊ะ สงสารคนไม่ชอบอ่านอะไรยาวๆ
วันศุกร์ที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2560
ไอคิว vs อีคิว
ไอคิว vs อีคิว
เห็นเด็กๆหลายคนสนใจเรื่องก
บางคนกว่าจะหันมาเลือกทางเดินนี้ก็เมื่ออายุมากพอสมควร
ผมเฝ้าสังเกตุการเปลี่ยนแปล
ผ ลการคัดเลือกประกาศออกมาว่า ไม่ได้
ในความเห็นส่วนตัว การจะประสบความสำเร็จในการส อบเป็นนักบินนั้น ใครที่ "พร้อม" มาตั้งแต่เด็ก ดูจะได้เปรียบมากกว่าใคร ครอบครัวที่สนับสนุนให้เด็ก ของตนได้ฝึกทักษะหลายด้านตั้งแต่เด็กนั้นจะมีโอกาสที่จ ะเป็นผู้ที่เลือกงานมากกว่า งานเลือกตน
ผมได้รู้จักกับนักบินหลายร้ อยคน เคยพูดคุยและสังเกตุอากัปกิ ริยาของคนเหล่านี้ และลองสรุปดูว่าอะไรที่ทำให้เขาเหล่านี้ถูกคัดเลือกมาทำหน้าที่นักบินพาณิชย์ของสา ยการบิน
1.เป็นผู้มีไหวพริบดี ช่างสังเกต เห็นอะไรแปลกไปก็มักจะตั้งคำถามในใจเสมอว่ามันเกิดจากอ ะไร แล้วจะแก้ไขอย่างไรให้มันกลับมาปกติ
2.มีมารยาทที่ดี ข้อนี้เกิดจากการเลี้ยงดูโด ยผู้ปกครอง ใครที่มีครอบครัวอบอุ่น เลี้ยงดูบุตรหลานทั้งกายและ ใจ เด็กจะแสดงออกซึ่งความมั่นใ จและมีความเคารพนอบน้อมต่อผู้อาวุโสกว่าโดยไม่เก้อเขิน ที่จะทำ
3.ความอดทน เด็กที่ถูกฝึกมาให้อดทน อดกลั้น ไม่ยอมแพ้อะไรง่ายๆ ไม่ตีโพยตีพาย มักจะได้แต้มต่อในตรงนี้อย่ างมาก ผมเคยลองสร้างแรงกดดันให้กั บรุ่นน้องก็บ่อยครั้งเมื่อทำการฝึก พบว่านักบินที่ถูกคัดเลือกม านั้นเกือบทั้งหมดสามารถรับ มือกับความกดดัน และประคับประคองตัวเองให้ผ่ านสถานการณ์จำลองที่สร้างขึ้นมาให้แก้ไขปัญหาไปด้วยดีเ สมอ
4.รู้จักวิธีการพูดจาให้น่า เชื่อถือและเหมาะสม เรื่องนี้ครอบครัวมีส่วนอย่ างมากครับ ถ้าคุณพ่อคุณแม่เป็นแบบอย่า งที่ดีให้ เด็กๆก็มักจะถอดแบบที่ดีมาเ ลย การแสดงออกด้วยการพูดจาในลั กษณะที่ฟังแล้วไม่ก้าวร้าวแ ละไม่อ่อนแอเกินไป มันต้องได้รับการปลูกฝังตั้ งแต่เด็กครับ
5.ยอมรับในสถานการณ์เลวร้าย ที่เกิดขึ้นอย่างสงบ ไม่หุนหันพลันแล่น มีสติในการรับรู้และค้นหาทา ง
ในความเห็นส่วนตัว การจะประสบความสำเร็จในการส
ผมได้รู้จักกับนักบินหลายร้
1.เป็นผู้มีไหวพริบดี ช่างสังเกต เห็นอะไรแปลกไปก็มักจะตั้งคำถามในใจเสมอว่ามันเกิดจากอ
2.มีมารยาทที่ดี ข้อนี้เกิดจากการเลี้ยงดูโด
3.ความอดทน เด็กที่ถูกฝึกมาให้อดทน อดกลั้น ไม่ยอมแพ้อะไรง่ายๆ ไม่ตีโพยตีพาย มักจะได้แต้มต่อในตรงนี้อย่
4.รู้จักวิธีการพูดจาให้น่า
5.ยอมรับในสถานการณ์เลวร้าย
ออกในการแก้ปัญหาดังกล่าว เรื่องนี้ต้องฝึกฝนกันตั้งแ ต่เด็กถึงจะดี คุณพ่อคุณแม่ต้องสมมติสถานก ารณ์ให้เด็กของตนได้คิดบ่อย ๆ
6.เป็นคนที่สร้างภาพในสมองเ ก่ง เรียกว่ามี Situational awareness มองเห็นปัญหาที่กำลังจะเกิด ขึ้นหากสถานการณ์ที่ไม่เหมา ะสมยังคงไม่ได้รับการแก้ไข และสามารถจัดการกับสถานการณ์นั้นได้ทันท่วงทีตามลำดับขั้นตอนอย่างเหมาะสม
7.เก่งในการทำงานเป็นทีม ทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม บางคนถนัดนำอย่างเดียว ยืนหน้าชั้นสั่งการ ใครไม่เห็นด้วยก็ไม่พอใจ บังคับให้ทีมงานคิดเหมือนทุ กอย่าง อย่างนี้ก็เป็นคนที่ไม่มีคุ ณสมบัติเหมาะกับการเป็นนักบินพาณิชย์ หรือทำตัวเป็นผู้ตามอย่างเดียวและอย่างดี ไม่กล้าแสดงความเห็นที่เป็น ประโยชน์ต่อภารกิจ อันนี้ก็ไม่เหมาะสมเช่นกัน
8.เล่นกีฬาและทำกิจกรรมจำนว นมาก คนเหล่านี้จะมีทักษะในการวา งแผนและทำงานเป็นทีม ผลพลอยได้ก็คือสุขภาพที่แข็ งแรงสมบูรณ์ ไม่เจ็บป่วยง่าย จิตใจก็แจ่มใสตามมา
ทุกข้อที่กล่าวข้างต้นนี้ จะสังเกตุเห็นว่า ครอบครัวมีส่วนสำคัญอย่างมา กในการหล่อหลอมเด็กๆให้พร้อ มที่จะเป็นได้ทุกอย่างที่เข าอยากจะเป็นเมื่อเติบโตขึ้น เขาจะกลายเป็นผู้ที่อยู่ในหัวแถวที่จะได้เลือกงานที่ชอ บ มิใช่เป็นหนึ่งในช้อยส์ที่จ ะถูกเลือก ไม่ว่าจะดำเนินชีวิตในสายงา นใดก็มีโอกาสประสบความสำเร็ จและมีความสุขในทุกเส้นทาง
ผมขอสนับสนุนให้คุณพ่อคุณแม่หรือผู้ปกครองลองพิจารณาดู นะครับ ยิ่งเตรียมให้พร้อมได้เร็วเ ท่าไหร่ยิ่งเป็นผลดีต่อเด็ก ในประเทศไทยยังไม่มีโครงการ ในลักษณะนี้ที่เตรียมพร้อมเ ด็กที่ต้องการก้าวเข้าสู่สา ยงานอาชีพนักบินพาณิชย์ คงจะดีไม่น้อยหากมีโครงการลักษณะอย่างนี้เกิดขึ้น เราจะได้บุคลากรที่ถูกบ่มเพ าะมาเพื่อเป็นนักบินพาณิชย์ ทั้งกายและใจ เป็นผลดีต่อทั้งอุตสาหกรรมก ารบินของประเทศที่กำลังประส บปัญหาในการผลิตนักบินอยู่ใ นปัจจุบันนี้
เริ่มก่อน ได้เปรียบนะครับ น่าสนมั๊ย?
-------
Pix credit: www.aviationcv.com
6.เป็นคนที่สร้างภาพในสมองเ
7.เก่งในการทำงานเป็นทีม ทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม บางคนถนัดนำอย่างเดียว ยืนหน้าชั้นสั่งการ ใครไม่เห็นด้วยก็ไม่พอใจ บังคับให้ทีมงานคิดเหมือนทุ
8.เล่นกีฬาและทำกิจกรรมจำนว
ทุกข้อที่กล่าวข้างต้นนี้ จะสังเกตุเห็นว่า ครอบครัวมีส่วนสำคัญอย่างมา
ผมขอสนับสนุนให้คุณพ่อคุณแม่หรือผู้ปกครองลองพิจารณาดู
เริ่มก่อน ได้เปรียบนะครับ น่าสนมั๊ย?
-------
Pix credit: www.aviationcv.com
InsideCockpit ตอนที่ 32 : กว่าจะถึงฝั่งฝัน กัปตันวิน แห่งสายการบินนกแอร์ ตอนที่สาม
ใครที่ท้อถอยหรือท้อแท้กับความฝันอันยิ่งใ หญ่ ต้องติดตามInside cockpit ตอนนี้ให้ได้นะครับ กัปตันวินแห่งสายการบินนกแอร์ต้องฟันฝ่าอุ ปสรรคขนาดไหนกว่าจะได้เป็นนักบินแอร์ไลนส์ สมดั่งฝัน ติดตามชม Inside cockpit ตอนล่าสุด กัปตันวิน ตอนสุดท้ายได้แล้วครับ
InsideCockpit ตอนที่ 31 :กว่าจะถึงฝั่งฝัน กัปตันวิน แห่งสายการบินนกแอร์ ตอนที่สอง
กว่าจะถึงฝั่งฝัน กัปตันวินแห่งสายการบินนกแอร์ต้องผ่านอุปส รรคนานัปการ เขาทำได้อย่างไร อะไรเป็นแรงบันดาลใจให้เขามุ่งมั่นทำจนสำเ ร็จ ติดตามชมตอนที่สองของบทสัมภาษณ์กัปตันวิน Teerawat Win Umpavanont ได้เลยครับ
รันเวย์
------
Credit: หนังสือ Understanding flight โดย David F.Anderson and Scott Eberhart
InsideCockpit ตอนที่ 30 : กว่าจะถึงฝั่งฝัน กัปตันวิน แห่งสายการบินนกแอร์ ตอนที่หนึ่ง
Inside Cockpit ตอนล่าสุดมาแล้วครับ มีโอกาสได้คุยกับกัปตันวินแห่งสายการบินนก แอร์ กว่าจะได้เป็นนักบินดั่งฝันต้องผ่านอุปสรร คมากมาย มาติดตามกันครับ
InsideCockpit ตอนที่ 29 : Preflight Briefing ตอนที่สอง
มาแล้ว... Inside Cockpit ประจำวันเสาร์ที่ 6 สิงหาคม....วันนี้ กัปตันหนุ่ยและกัปตันเหม สาธิตการทำ Preflight Briefing ต่อเนื่องจากตอนที่แล้ว ชมการสาธิตการ brief แบบพื้นฐาน เข้าใจง่าย ติดตามชมกันได้เลยครับ
Contrails
อย่าเพิ่งตกใจ.....เครื่องบินโดยสารไม่มีอาวุธหนักแบบนั้น....เจ้าเส้นขาวๆที่เห็น
จากภาพ... เป็น Contrails ที่ถ่ายผ่าน HUD (Head Up Display) บนเครื่องบิน 787 ขณะบินตามหลังเครื่อง B777 ที่อยู่ข้างหน้า ราวๆ 40 กม. ต่ำกว่า 2,000 ฟุต การมอง Contrails ผ่าน HUD จะได้ความรู้สึกเหมือนกำลัง
InsideCockpit ตอนที่ 28 : Preflight Briefing ตอนที่หนึ่ง
อินไซด์ค๊อกพิทประจำสัปดาห์นี้มาแล้วครับ ช้าไปหนึ่งวัน กราบขออภัย ไปดูกันว่าก่อนที่นักบินจะบินจริงๆนั้น เค้าต้องเตรียมตัวกันอย่างไร ในช่วงของ Preflight briefing ครับผม ขอบคุณน้องกัปตัน น้องแม็กซ์ และน้องยอดที่มาช่วยถ่ายทำรายการและตัดต่อ ให้ครับผม สวดยวดอ่ะ
Turbofan
Turbofan
คำนี้หมายถึงเครื่องยนต์เจ็ ทที่แรงขับส่วนใหญ่ของเครื่ องยนต์ได้จากการหมุนของใบพั ดขนาดใหญ่ด้านหน้าเครื่องยน ต์ ซึ่งไม่ได้ผ่านการสันดาปในห้องสันดาปของเครื่องยนต์ แรงขับเครื่องยนต์แบบ Turbofan จะถูกเปรียบเทียบสัดส่วนระห ว่างกำลังเครื่องยนต์ที่ได้ จากใบพัดเทียบกับแรงขับที่ไ ด้จากการสันดาปใน Combustion chamber เรียกสัดส่วนนี้ว่า Bypass ratio ซึ่งตัวเลขมากแสดงถึงประสิท ธิภาพสูง เช่นหากมี Bypass ratio เป็น 7:1 หมายถึงแรงขับที่ได้จากใบพั ดคิดเป็นเจ็ดเท่าของแรงขับที่ได้จากการสันดาป
เครื่องยนต์แบบ Turbofan นี้จะทำงานเงียบกว่าเครื่อง ยนต์แบบ Turbojet มากครับ ส่วนของใบพัดขนาดใหญ่จะเห็น ได้ชัดและอยู่ด้านหน้าเครื่ องยนต์ เครื่องบินสมัยใหม่ใช้เครื่ องยนต์แบบ Turbofan เกือบทั้งหมดครับ บริษัทผลิตเครื่องยนต์ที่เร ารู้จักกันดีก็เช่น Rolls Royce , CFM , Pratt and Whitney เป็นต้น
----
ขอบคุณภาพจาก www.boldmethod.com
แหล่งข้อมูล: Dictionary of Aviation - David Crocker
คำนี้หมายถึงเครื่องยนต์เจ็
เครื่องยนต์แบบ Turbofan นี้จะทำงานเงียบกว่าเครื่อง
----
ขอบคุณภาพจาก www.boldmethod.com
แหล่งข้อมูล: Dictionary of Aviation - David Crocker
InsideCockpit ตอนที่ 27 : หน่วยแพทย์นักบิน นางฟ้าพยาบาลของบริษัทการบินไทย
Inside Cockpit ออกเดินทางสู่ อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์ เพื่อติดตามหน่วยแพทย์นักบิน นางฟ้าพยาบาล ของบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) ตรวจรักษา ดูแลสุขภาพ พร้อมทำกิจกรรมสันทนาการต่างๆ ร่วมกับกองบิน 4 ตาคลี เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2559 ที่ผ่านมา ติดตามรับชมได้ครับ
InsideCockpit ตอนที่ 26 : Plane spotters edition 2
ตอนที่ 2 มาแล้ววว... กัปตันหนุ่ยและกัปตันเหม พาไปรู้จักกับกิจกรรมถ่ายภาพเครื่องบินของ สมาชิกกลุ่ม TAPG (Thailand Aviation Photographers Group) ตอนต่อเนื่องจากเสาร์ที่แล้ว.... ติดตามรับชมครับ
Ultrasonic Composite Damage Checker
การถูกเฉี่ยวชนของเครื่องบินกับรถหรืออุปกรณ์ในลานจอด เป็นสิ่งที่ทุกคนไม่อยากให้เกิดขึ้น แต่ก็อาจพบเห็นได้..ใหญ่บ้างเล็กบ้าง ถ้าเป็นจุดที่สำคัญหรือสร้างความเสียหายกับโครงสร้างเกินกำหนดในคู่มือ ย่อมมีผลเสียหายในเชิงธุรกิจ เนื่องจากเครื่องอาจบินต่อไม่ได้ และต้องนำเครื่องจอดซ่อมตามคู่มือของผู้ผลิตเพื่อให้มั่นใจว่าเครื่องบินมีโครงสร้างที่แข็งแรงปลอดภัยเหมือนเดิม
เครื่องบินรุ่นใหม่อย่าง Boeing 787 นอกจากเทคโนโลยี่ด้านการบินที่ล้ำสมัยแล้ว โครงสร้างลำตัวเครื่อง ยังทำจากวัสดุคอมโพสิต (composite) ที่คงความแข็งแรงแต่มีน้ำหนักเบา มีผลเรื่องการประหยัดน้ำมันอย่างมีนัยยะ
"35 RDC" หรือ Ultrasonic Composite Damage Checker เป็นอุปกรณ์แบบพกพา ที่มีไว้ประจำเครื่องใน cockpit โดยกรณีที่เกิดเหตุเฉี่ยวชน ..ชุดตรวจ "35 RDC" จะสามาถตรวจโครงสร้าง composite ชั้นใต้พื้นผิว (subsurface) ที่สายตามองไม่เห็นในบริเวณที่ถูกเฉี่ยวชนและบอกว่ารอยดังกล่าวกระทบถึงโครงสร้างมากน้อยเพียงใด สามารถซ่อมแบบชั่วคราวได้หรือต้องจอดซ่อมถึงโครงสร้างภายใน
ก่อนอื่น เครื่อง 35 RDC จะถูก calibrate หรือตั้งค่ามาตรฐานของการส่งผ่านคลื่น ultrasonic ผ่านวัสดุ composite ที่มีให้มาในชุดตรวจ .. จากนั้น ช่างจะใช้ transducer ส่งคลื่น ultrasonic ผ่านโครงสร้าง composite บริเวณที่มีร่องรอยความเสียหายโดยมีน้ำยา ultrasonic couplants เป็นตัวช่วยนำคลื่นผ่านสู่ชั้นใต้ผิวด้านล่าง (subsurface defect) เครื่องวัดสีฟ้า จะบอกค่าออกมาว่า รอย defect ดังกล่าวมีค่าความเสียหายมากน้อยเพียงใดและแสดงผลผ่าน indicator (Good/Bad) บอกถึงความรุนแรงของความเสียหายต่อโครงสร้างด้านล่าง เพื่อให้ช่างประเมินรูปแบบของการซ่อมบำรุงต่อไป
อ่านรายละเอียดของอุปกรณ์ เพิ่มเติมได้ที่ http://www.olympus-ims.com/…/ultrasonic-precision-th…/35rdc/
ขอขอบคุณข้อมูลเชิงเทคนิคจากช่าง B787 การบินไทย Chinnapat Note ด้วยครับ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)